สามย่านมิตรทาวน์ มิตรสัมพันธ์ของการเปลี่ยนผ่านย่านจากอดีต ปัจจุบัน สู่อนาคต

“สามย่าน” ย่านเก่าแก่ของชุมชนคนไทยเชื้อสายจีนที่อยู่อาศัยทำมาหากินกันมาช้านาน อาคารพาณิชย์ที่เรียงรายตลอดแนว ซุกซ่อนร้านอาหารลับรสเลิศอยู่หลายร้าน ซึ่งนับได้ว่าเป็นแหล่งเลี้ยงปากท้องหลัก ทั้งมื้อเช้า กลางวันและค่ำ ของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจากรุ่นสู่รุ่น อีกทั้งยังเป็นย่านหลักของการค้าขายอะไหล่และส่วนประกอบรถยนต์ กาลเวลาผ่านไปที่ดินย่านนี้ซึ่งอยู่ในความดูแลของสำนักงานจัดการทรัพย์สินส่วนจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ถูกปรับเปลี่ยน และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มาจนถึงปัจจุบันที่เป็นโครงการมิกซ์ยูสขนาดใหญ่ บนพื้นที่กว่า 14 ไร่ ซึ่งส่วนหนึ่งเคยเป็นตลาดสามย่านอันเป็นจุดดึงดูดหลักของย่านนี้ ได้ถูกยุบรวมและกลายเป็นอาคารขนาดใหญ่ภายใต้ชื่อ “สามย่านมิตรทาวน์” “สามย่านมิตรทาวน์” […]

ASACREW

February 12, 2563

Co-Creation: กระบวนการร่วมสร้างสรรค์สถาปัตยกรรม

เรื่อง : ดร. สุปรียา หวังพัชรพล ภาพ : เครดิตตามภาพ Co-creation เป็นคำที่เราได้ยินบ่อยครั้งมากขึ้นในช่วงปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะในแวดวงธุรกิจ อาทิ แนวคิดเมืองค้าปลีกรูปแบบใหม่ “Co-creation” ในการเปิดตัว ICONSIAM กับตัวอย่างของพื้นที่ “สุขสยาม” เมืองมหัศจรรย์แห่งวิถีไทย ที่เกิดจากความร่วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจ […]

ASACREW

February 12, 2563

Minoburi

เรื่อง: ดร.จักรสิน น้อยไร่ภูมิ ภาพ: -.- หากจะจำลองกระบวนการเกิดขึ้นของ มิโนะบุรี (Minoburi) ให้อยู่ในรูปของสมการอย่างง่าย ด้านซ้ายของสมการจะตั้งต้นด้วย ‘กลุ่มผู้ใช้งาน ได้แก่ เด็กและครอบครัว’ บวกกับ ‘พื้นที่สำหรับพบปะกัน’ บวกด้วย ‘ร้านค้าขนาดเล็ก’ บวกด้วย ‘พื้นที่กิจกรรมต่างๆ’ และบวกด้วย […]

ASACREW

February 12, 2563

The Commons Saladaeng

เรื่อง: ปวริศ คงทอง ภาพ: Courtesy of Department of Architecture หากจะเปรียบเทียบสถาปัตยกรรมเป็นภาพยนตร์เรื่องหนึ่ง สถาปนิกก็คงเป็นเหมือนผู้กำกับที่จะกำหนดแนวทางและกำกับให้ภาพยนตร์เป็นไปตามแนวทางนั้น และภาพยนตร์บางเรื่องที่ได้รับความนิยมและการกล่าวถึงเป็นจำนวนมาก เมื่อมีการประกาศว่าจะทำภาคต่อ ผู้ชมก็ย่อมมีความคาดหวังว่าภาคต่อนั้นจะออกมาดีมากกว่าหรือไม่ต่างจากภาคแรก สถาปัตยกรรมเองก็เช่นกัน นี่เป็นมุมมองส่วนหนึ่งของคุณอมตะ หลูไพบูลย์ สถาปนิกและผู้ก่อตั้งบริษัท Department of […]

ASACREW

February 4, 2563

PUEY Park อุทยานเรียนรู้ป๋วย 100 ปี

เรื่อง: ปวริศ คงทอง ภาพ: Courtesy of Landprocess Landscape Architect ศาสตราจารย์ดอกเตอร์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ เป็นอดีตอธิการบดี และเป็นบุคคลสำคัญอย่างยิ่งคนหนึ่งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อุทยานเรียนรู้ป๋วย 100 ปี เป็นโครงการที่เกิดขึ้นจากกระแสมหาวิทยาลัยสีเขียวและแนวคิดเรื่องความยั่งยืน โดยความร่วมมือของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และ CIDAR ซึ่งมีบริษัทสถาปนิกชุมชนและสิ่งแวดล้อม […]

ASACREW

February 4, 2563

PILOK COMMUNITY SPACE

เรื่อง: วสวัตติ์ รุจิระภูมิ ภาพ: อาศรมศิลป์ โครงการศูนย์บริการสำหรับการให้ความรู้เพื่อพัฒนาทักษะความเข้าใจและการใช้เทคโนโลยีดิจิตัล (Digital Literacy) ตั้งอยู่ในพื้นที่โรงเรียนเชิงเขา หมู่บ้านอิต่อง ตำบลปิล็อก อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งนอกจากจะเป็นพื้นที่ที่เชื่อมชุมชนห่างไกลกับโลกกว้างเข้าด้วยกันตามชื่อโครงการแล้ว ยังทำหน้าที่เป็นพื้นที่ส่วนกลาง เชื่อมคนในชุมชนอันหลากหลายชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ร่วมกัน ทั้ง ไทย กะเหรี่ยง พม่า […]

ASACREW

January 28, 2563

Sher Maker การออกแบบร่วมกัน ไม่ใช่แค่รูปแบบ แต่เป็นกระบวนการ

Text: อ.ดร.จิรันธนิน กิติกา Photo: Sher Maker เฌอ เมคเกอร์ (Sher Maker) เป็นกลุ่มสถาปนิกที่ทำงานออกแบบบนพื้นฐานของการปฏิบัติงานจริง คุณโอ๊ต ธงชัย จันทร์สมัคร และคุณตุ๋ย พัชรดา อินแปลง สองสถาปนิกผู้ก่อตั้ง เฌอเมคเกอร์ จากประสบการณ์ทำงานก่อสร้างด้วยวัสดุทางเลือกต่างๆ […]

ASACREW

January 14, 2563

VARIVANA RESORT รีสอร์ตชายเขาที่คืนความสงบให้ชายหาด

เรื่อง: ปวริศ คงทอง ภาพ: -.- เกาะพะงันเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงเป็นอย่างมากในภาคใต้ ด้วยสภาพพื้นที่ซึ่งเป็นเกาะในทะเลอ่าวไทยและการเข้าถึงด้วยเรือโดยสารที่ไม่ยากนัก ส่งผลให้เกาะพะงันมีอาคารที่พักประเภทโรงแรมและรีสอร์ทเกิดขึ้นมากมายเพื่อตอบสนองการท่องเที่ยวที่เติบโตขึ้นในช่วงเวลาที่ผ่านมา โดยโรงแรมและรีสอร์ทแต่ละแห่งต่างไปจับจองพื้นที่หน้าหาดเพื่อสร้างความสะดวกสบายในการพักผ่อนและมอบวิวทะเลซึ่งเป็นจุดขายให้แก่นักท่องเที่ยว แต่โครงการวารีวาน่ารีสอร์ทแห่งนี้นั้นแตกต่างออกไปจากรีสอร์ทอื่นๆ วารีวาน่ารีสอร์ท เกาะพะงัน ตั้งอยู่บนเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี สิ่งที่ทำให้รีสอร์ทแห่งนี้ต่างไปจากโครงการอื่นๆ คือ ที่ตั้งของวารีวาน่ารีสอร์ทนั้นทำตัวเป็นเหมือนตัวกลางระหว่างทะเลกับพื้นที่ธรรมชาติรอบๆ เนื่องจากที่ตั้งที่อยู่บนเชิงเขา ห่างจากทะเลเป็นระยะทางประมาณ 1 […]

ASACREW

January 14, 2563

AIS Contact Center Development & Training Arena สถาปัตยกรรมเขียวที่เป็นมิตรต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม

เรื่อง: นพดล ตั้งสกุล ภาพ: Courtesy of Plan Architects by PanoramicStudio, YAMASTUDIO โครงการศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมเอไอเอส  เป็นทั้งศูนย์กลางการพัฒนาบุคลากรงานบริการและการติดต่อสื่อสารขององค์กร และเป็นพื้นที่สร้างประโยชน์แก่คนรุ่นใหม่ในภาคอีสานที่จะใช้เป็นแหล่งพบปะและแลกเปลี่ยนไอเดียผ่านประสบการณ์เทคโนโลยีดิจิทัล โดยการมีพื้นที่สาธารณะในการเรียนรู้และทำงานด้านเทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับคนทั่วไป  ตัวโครงการมีความตั้งใจในการที่จะออกแบบให้เป็นอาคารต้นแบบด้านการประหยัดพลังงานและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมตั้งแต่แรกเริ่มโครงการ ผังพื้นเป็นรูปร่างสามเหลี่ยมสองชิ้นวางประกบกัน โดยหันด้านยาวที่สุดออกสู่ด้านทิศตะวันออก  ส่วนด้านทิศจะวันตกจัดวางพื้นที่ส่วนบริการ ได้แก่ […]

ASACREW

January 14, 2563

New Waves of Thai Architects คลื่นระลอกใหม่จากสถาปัตยกรรมร่วมสมัยในประเทศไทย

เรื่อง: Jenchieh Hung และ กุลธิดา ทรงกิตติภักดี แปล: Jiaqi Han ภาพ: ตามระบุใต้ภาพ เมื่อวาน คืนวันจันทร์ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ราชบัณฑิตยสถานด้านศิลปะแห่งสหราชอาณาจักร หรือ Royal […]

ASACREW

January 13, 2563
1 3 4 5 9

Pin It on Pinterest